ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญเตือน วัฒนกุล
อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์
การศึกษา :
– Ph.D. (Nursing) Doctor of Philosophy in Nursing, College of Nursing, University of Illinis at Chicago, USA, 2555
– วท.ม. วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (โรคติดเชื้อและระบาดวิทยา) คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543
– ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์และผดุงครรภ์วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 2535
ประสบการณ์ทำงาน :
– ปัจจุบัน อาจารย์ประจำหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรีสาขาอื่น) และอาจารย์ประจำหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
-พ.ศ. 2552 – 2566 อาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ระดับปริญญาตรี
ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย :
บุญเตือน วัฒนกุล, ศรีสุดา งามขำ, ศุทธินี วัฒนกูล, สุรศักดิ์ สุนทร, กมลทิพย์ ตั้งหลักมั่นคง, (2568). การส่งยาทางไปรษณีย์สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานในสถานการณ์ระบาดโรคโควิด–19 ในประเทศไทย. วารสารวิชาการสาธารณสุข, (In press) (TCI กลุ่มที่ 1: 0.8)
กฤษณพงศ์ ลาภผล, รุ่งนภา เขียวชอ่ำ, มธุรดา บรรจงการ, ศุกร์ใจ เจริญสุข, จิณพิชญ์ชา สาธิยมาส, และบุญเตือน วัฒนกุล. (2568). คุณลักษณะผู้นำที่เป็นแบบอย่างด้านจิตอาสา: กรณีศึกษาประธานศูนย์ปันน้ำใจสาธุ มูลนิธืโรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ กองทัพเรือ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสารคาม, 44(2). (In press) (TCI กลุ่มที่ 1: 0.8)
รุ่งนภา เขียวชอ่ำ, มธุรดา บรรจงการ, ศุกร์ใจ เจริญสุข, จิณพิชญ์ชา สาธิยมาส, กฤษณพงศ์ ลาภผล, และบุญเตือน วัฒนกุล. (2567). การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายชุมชนเพื่อพัฒนาการดูแลผู้ป่วยระยะยาวจากโรงพยาบาลสู่บ้าน: วิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยา. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, (35)2. (TCI กลุ่มที่ 1: 0.8)
ศรีสุดา งามขำ, ชูศักดิ์ ยืนนาน, บุญเตือน วัฒนกุล, และอรุณศรี มงคลชาติ. (2567). การประเมินผลการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพด้านการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เขตภาคเหนือ. วารสารวิจัยการพยาบาลและการสาธารณสุข, 4(3), e268000. (TCI กลุ่มที่ 1: 0.8)
ศรีสุดา งามขำ และ บุญเตือน วัฒนกุล (2565) การวิเคราะห์ผลกระทบของสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด-19 ต่อระบบบริการสำหรับโรคเบาหวานในประเทศไทย, วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ, ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน, หน้า 91-103 (TCI กลุ่มที่ 2 0.6)
บุญเตือน วัฒนกุล ศิริกุล การุณเจริญพาณิชย์ และศรีสุดา งามขำ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเรียนกับลีลาการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2565 หน้าที่ 283-297. (TCI กลุ่มที่ 1 0.8)
Likitkulthanaporn, S., Wattanakul, B., & Leardrungchaisakul, R. (2022). Development of Self-management support for self-management behaviors in the Post-COVID 19 patients on residual symptoms in Covid-19 patients healed. Journal of The Department of Medical Services (J DMS), ปีที่ 47 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2565 หน้าที่ 104-112. (TCI กลุ่มที่ 2 0.6).
Ngamkham, S., Wattanakul, B., Alongkorn, P., & Nithima, S. (2022). Psychometric Properties of Beliefs about Pain Control Questionnaire in People with Cancer – Thai Version. Pacific Rim Int J Nurs Res 2022; ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 July-September, หน้า 432-445. (SCOPUS 1.0)
Srilamai, N., Wattanaviroj, N., Changpradap, W., Sudjainark, S. & Wattanakul, B. (2021). Effects of traditional games-based learning programs on social distancing to prevent the spread of Coronavirus Disease 2019. Journal of Health Science Research, ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 25-36. (TCI กลุ่มที่ 1 0.8