ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บังอร ศุภวิทิตพัฒนา

อาจารย์ประจำ
สาขาการพยาบาลมารดา ทารก
และการผดุงครรภ์


การศึกษา :

– พ.ศ. 2555 – ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยมหิดล


ประสบการณ์ทำงาน :

– พ.ศ. 2528- 2529 – ทำงานในฐานะพยาบาลวิชาชีพ ประจำหน่วยห้องคลอด แผนกการพยาบาลสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

– พ.ศ. 2530-2564 – เป็นอาจารย์ใน ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา และกลุ่มวิชาการพยาบาลสูติศาสตร์ และนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย :

กรรณิการ์ กันธะรักษา และคณะ. (2563). ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย. พยาบาลสาร. ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 (เดือนมกราคม-มีนาคม), หน้า 1-12.

กัลยาณี ตันตรานนท์, อนนท์ วิสุทธิ์ธนานนท์, วีระพร ศุทธากรณ์, บังอร ศุภวิทิตพัฒนา, สุมาลี เลิศมัลลิกาพร และเสาวนีย์ คำปวน. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากรวัยทำงาน ตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสาธารณสุขล้านนา ปีที่ 16 ฉบับที่ 2, หน้า 61-71.

มยุรฉัตร ตันตรา, บังอร ศุภวิทิตพัฒนา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2563). ผลของการฝึกผ่อนคลายด้วยจินตภาพต่อความเครียดในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. พยาบาลสาร. ปีที่ 47 ฉบับที่ 3  หน้า 61-72.

นลินี สิทธิบุญมา, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และบังอร ศุภวิทิตพัฒนา. (2563). ความเครียด การสนับสนุนทางสังคมและภาวะซึมเศร้าหลังคลอดของผู้เป็นมารดาครั้งแรก. พยาบาลสาร, ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน-มิถุนายน ปี พ.ศ. 2563 หน้า 169-179.

เกสรา ศรีพิชญาการ และบังอร ศุภวิทิตพัฒนา. (2562). ผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักศึกษาพยาบาลในการให้สุขศึกษาเรื่อง ความปลอดภัยทางอาหารในสตรีตั้งครรภ์. การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
จังหวัดนครศรีธรรมราช หน้า 1 -12. 2019. 11 มีนาคม ปี พ.ศ. 2562

มนัสชนกฑ์ กุลพานิชย์, บังอร ศุภวิทิตพัฒนา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2562). ผลของการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในมารดาวัยรุ่น. พยาบาลสาร. ปีที่ 46 ฉบับที่ 2, หน้า 36-46.

รุ่งนภา โพธิ์แสน, จันทรรัตน์ เจริญสันติ, และบังอร ศุภวิทิตพัฒนา. (2562). ความเครียดที่เฉพาะกับการตั้งครรภ์ การสนับสนุนทางสังคม และการเผชิญความเครียดในสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพฯ, ปีที่ 35  ฉบับที่ 1, เดือนมกราคม-เมษายน หน้า 59-70.

วรรณพร คำพิลา, บังอร ศุภวิทิตพัฒนา, และ นงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2562). ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส และความเครียดในการเลี้ยงดูบุตรของมารดาวัยรุ่นครั้งแรก. Journal of Nursing and Health Care, ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มีนาคม, หน้า 98-107.

อรนิด นิคม, นงลักษณ์ เฉลิมสุข, และบังอร ศุภวิทิตพัฒนา. (2562).ผลของดนตรีต่อความวิตกกังวลในสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการเจาะตรวจน้ำคร่ำ. Journal of Nursing and Health Care ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม-กันยายน, หน้า 115-123.

กมลชนก เขตต์วัง, บังอร ศุภวิทิตพัฒนา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2562). สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส ความเหนื่อยล้าและความเครียดในการเลี้ยงดูบุตรในผู้เป็นบิดาครั้งแรก. Journal of Nursing and Health Care. ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม-กันยายน, หน้า 79-88.

ภัทรา สุวรรณโท, ปิยะนุช ชูโต, และบังอร ศุภวิทิตพัฒนา. (2562). ผลของการใช้โปรแกรมการให้ความรู้ผ่านสื่อสังคมต่อพฤติกรรม การรับประทานอาหารและกิจกรรมทางกายในสตรีตั้งครรภ์. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล. ปีที่ 36 ฉบับที่ 1, เดือนมกราคม-เมษายน, หน้า 177-190.

เนตรนภา ขวัญยืน, นันทพร แสนศิริพันธ์, และ บังอร ศุภวิทิตพัฒนา. (2560). ปัจจัยทำนายความกลัวการคลอดบุตรในสตรีมีครรภ์. พยาบาลสาร. ปีที่ 44 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม, หน้า 24-35.