รศ.ดร.กรรณิการ์ กันธะรักษา
อาจารย์ประจำ
สาขาการพยาบาลมารดา ทารก
และการผดุงครรภ์
อาจารย์ประจำ
สาขาการพยาบาลมารดา ทารก
และการผดุงครรภ์
ปริญญาเอก
– ปร.ด. (พยาบาลศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545
ปริญญาโท
– พย.ม. (การพยาบาลแม่และเด็ก) มหาวิทยาลัยมหิดล, 2527
ปริญญาตรี
– พย.บ. (การพยาบาลและผดุงครรภ์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2523
– อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรีสาขาอื่น) คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
– กรรมการสภามหาวิทยาลัยพายัพ
– ประธานกรรมการโครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
– กองบรรณาธิการวารสาร พยาบาลสาร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
– ประธานโครงการอบรม ก้าวทันยุค: การพยาบาลสูติศาสตร์และการผดุงครรภ์สตรีที่มีภาวะแทรกซ้อน สถานบริการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรรณิการ์ กันธะรักษา, มาลี เอื้ออำนวย, สุสัณหา ยิ้มแย้ม, นันทพร แสนศิริพันธ์, บังอร ศุภวิทิตพัฒนา, นงลักษณ์ เฉลิมสุข, และปรียกมล เลิศตระการนนท์. (2563). ผลของโปรแกรมการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำหรับพยาบาลวิชาชีพในภาคเหนือของประเทศไทย.พยาบาลสาร.47 (1), 1-12. (TCI 2: 0.6)
พิมลพรรณ อันสุข, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2563). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ความไม่เพียงพอของน้ำนมในมารดาครรภ์แรกที่ได้รับการผ่าตัดคลอด.พยาบาลสาร. 47 (4),192-202. (TCI 2: 0.6)
เพ็ญนภา ดำมินเศก, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2563). ประสิทธิผลของการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนในการคลอดบุตรของสตรีตั้งครรภ์:การทบทวนอย่างเป็นระบบ. พยาบาลสาร.47 (4),203-215. (TCI 2: 0.6)
กฤษณา ปิงวงศ์, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2563).ประสิทธิผลของการนวดเต้านมต่อการคัดตึงเต้านมในมารดาที่ให้นมบุตร: การทบทวนอย่างเป็นระบบ.พยาบาลสาร. 47 (2),143-155. (TCI 2: 0.6)
จารุพร เพชรอยู่, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนันทพร แสนศิริพันธ์. (2563). ผลของโปรแกรมการสอนบนเว็บต่อสมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาของสตรีตั้งครรภ์. พยาบาลสาร.47 (2),156-168. (TCI 2: 0.6)
นลินี สิทธิบุญมา, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และบังอร ศุภวิทิิตพัฒนา (2563). ความเครียด การสนับสนุนทางสังคมและภาวะซึมเศร้าหลังคลอดของผู้เป็นมารดาครั้งแรก.พยาบาลสาร.47 (2),169-179. (TCI 2: 0.6)
กัญญาภัค เทียนโชติ, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2563).ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความอ่อนล้าในสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์. พยาบาลสาร.47 (2), 191-203. (TCI 2: 0.6)
เครือวัลย์ คนอยู่, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2563).ประสิทธิผลของการส่งเสริมความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดาในมารดาวัยรุ่น: การทบทวนอย่างเป็นระบบ.พยาบาลสาร. 47 (2),204-215. (TCI 2: 0.6)
ชณุตพร สมใจ, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2563). ประสิทธิผลของการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา: การทบทวนอย่างเป็นระบบ. พยาบาลสาร. 47 (2), 227-239. (TCI 2: 0.6)
ปรียกมล ไกรกิจราษฎร์, กรรณิการ์ กันธะรักษา, เสาวนีย์ เหลี่ยมไตรรัตน์, และบุษกร จันทร์จรมานิตย์. (2563). ปัจจัยทำนายความพร้อมสำหรับการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของมารดาหลังคลอด.พยาบาลสาร. 47 (1), 13-24. (TCI 2: 0.6)
เสาวลักษณ์ หวังชม, ปิยะนุช ชูโต, และกรรณิการ์ กันธะรักษา. (2562). กิจกรรมทางกาย คุณภาพของอาหาร การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา และน้ำหนักตัวคงค้างในมารดาหลังคลอด 6 เดือน.พยาบาลสาร.46 (4),94-107. (TCI 2: 0.6)
ณัฎฐ์นรี คำอุไร, นันทพร แสนศิริิพันธ์ และกรรณิการ์ กันธะรักษา. (2562). ความรู้ทัศนคติและการมีส่วนร่วมของบิดาในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา.พยาบาลสาร.46 (1), 40-48. (TCI 2: 0.6)
ลลิตวดี เตชะกัมพลสารกิจ, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนันทพร แสนศิริิพันธ์. (2561). วิธีการส่งเสริมการป้องกันภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์: การทบทวนอย่างเป็นระบบ. พยาบาลสาร.45 (1),62-74. (TCI 2: 0.6)
กฤษณา ปิงวงศ์ และกรรณิการ์ กันธะรักษา. (2560). การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม. พยาบาลสาร.44 (4),169-176. (TCI 2: 0.6)
พรพรรณ พุ่มประยูร, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และบังอร ศุภวิทิตพัฒนา. (2559). ผลของการเตรียมสตรีครรภ์แรกต่อความสำเร็จในการดำรงบทบาทมารดา. พยาบาลสาร.43(4), 33-43. (TCI 2: 0.6)
ดารุณี ฮาวกันทะ, นันทพร แสนศิริพันธ์, และกรรณิการ์ กันธะรักษา. (2559). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติของบิดาเกี่ยวกับการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว. พยาบาลสาร.43 (4), 23-32. (TCI 2: 0.6)
สมญาภรณ์ พุทธรักษา, บังอร ศุภวิทิตพัฒนา, และกรรณิการ์ กันธะรักษา. (2559). ทัศนคติ บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการออกกำลังกายของสตรีตั้งครรภ์. พยาบาลสาร.43 (3),24-34. (TCI 2: 0.6)
พฤกษลดา เขียวคำ, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และฉวี เบาทรวง. (2559). การทบทวนอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการจัดการอาการเหนื่อยล้าในผู้คลอด. พยาบาลสาร.43 (1), 22-32. (TCI 2: 0.6)
สุภาภรณ์ เลิศกวินอนันต์, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และฉวี เบาทรวง. (2559). การทบทวนอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการจัดการความเครียดในสตรีที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. พยาบาลสาร. 43 (1), 33-44. (TCI 2: 0.6)
ปรียกมล เลิศตระการนนท์, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนันทพร แสนศิริพันธ์. (2559). ทัศนคติ บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม และความตั้งใจของบิดาในการกระตุ้นมารดาให้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา. พยาบาลสาร. 43 (1), 45-56. (TCI 2: 0.6)
Amattayakong, C., Klunlkin, A., Kunawiktikul, W., Kantaruksa, K., & Turale, S. (2020). Wellness among nursing students: A qualitative study. Nurse Education in Practice.48, doi:https://doi.org/10.1016/j.nepr.2020.102867 (scopus Q1)
Tanasirijiranont, R., Kantaruksa, K., Sansiriphan, N., & Jordan, P. L. (2019). A grounded theory of becoming a first-time father due to a high risk pregnancy. Pacific Rim International Journal of Nursing Research.23(2),118-130. (TCI 1 : 0.8)
Wang, Q., Fongkaew, W., Petrini, M., Kantaruksa, K., Chaloumsuk, N., & Wang, S. (2019). An ethnographic study of traditional postpartum beliefs and practices among Chinese women. Pacific Rim International Journal of Nursing Research.23(2),142-155. (TCI 1 : 0.8)
Uengwongsapat, C., Kantaruksa, K., Klunklin, A., Sansiriphun, N. (2018). Growing into teen fatherhood:A grounded theory study. International Nursing Review.65(2),244-253. (scopus :Q1)