ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิกุล พรพิบูลย์

อาจารย์ประจำ
สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ


การศึกษา :

– พย.ด. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539
– วท.ม. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2532
– วท.บ. พยาบาลและผดุงครรภ์ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2522


ประสบการณ์ทำงาน :

– ปัจจุบัน อาจารย์ประจำหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรีสาขาอื่น) และอาจารย์ประจำหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

– หัวหน้าภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

– ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ และการจัดการความรู้ในองค์กรและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

– รองคณบดีฝ่ายแผน ฒนาคุณภาพองค์กรและการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

– คณะผู้บริหารวิทยาลัยพยาบาลและผดุงครรภ์ขั้นสูงแห่งประเทศไทย (2556–2560)

– อุปนายกสมาคมผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (ประเทศไทย) (2562–2563 )


ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย :

ทิพย์ ลือชัย,พิกุล พรพิบูลย์, และชมพูนุท ศรีรัตน์.(2565) ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการควบคุมโรคน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างรอบของการฟอกเลือดและความดันโลหิตก่อนการฟอกเลือด ในผู้ที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม, พยาบาลสาร,49(4).140 -150.

ธัญลักษณ์ จิตประเสริฐ, พิกุล พรพิบูลย์, และ จันทร์ฉาย โยธาใหญ่. (2565). การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ดูแลผู้บาดเจ็บไขสันหลัง: กรณีศึกษา. พยาบาลสาร, 49(4), 163-178.

วรวรรณ โม่งจันทร์, พิกุล พรพิบูลย์ และ ประทุม สร้อยวงค์.(2565). การตายดี : มุมมองของพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤติ. พยาบาลสาร,49(3). 162 -173.

พิกุล พรพิบูลย์. (2564). ครอบครัวและผู้ดูแล. ใน ลักษมี ชาญเวชช์, ประถมาภรณ์ จันทร์ทอง, กิติพล นาควิโรจน์ และ ปิยพร ทิสยากร (บ.ก.). การดูแลแบบประคับประคอง เล่ม 1. (น. 498-5.4). ขอนแก่น: สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย.

ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์, พิกุล พรพิบูลย์, รัตนาวดี ชอนตะวัน และ กรปภัทร ศิลปะวิทย์. (2564). บทบาทที่กระทำจริงของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในระบบบริการสุขภาพไทย. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย, 8(2), 105-121.

รัชดาวรรณ ปินตา, ประทุม สร้อยวงค์, และ พิกุล พรพิบูลย์. (2564). การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองโดยผู้จัดการรายกรณี. เชียงใหม่เวชสาร. 60(4), 727-745.

จิราภรณ์ธิ์ เพียรประสิทธิ์, พิกุล พรพิบูลย์, และ ประทุม สร้อยวงค์. (2564). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองด้านโภชนาการ ในผู้ที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. พยาบาลสาร 49(4), 128-139.

อภิชาต กาศโอสถ, พิกุล พรพิบูลย์, และ จันทร์ฉาย โยธาใหญ่. (2563). การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจสำหรับผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม. พยาบาลสาร, 47(3), 168-180.

อภิชาต กาศโอสถ, พิกุล พรพิบูลย์ และจันทร์ฉาย โยธาใหญ่. (2563). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อความรู้สึกถึงความสามารถในการควบคุม และความรุนแรงของข้อเสื่อมในผู้ที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม. พยาบาลสาร. 46(2), 188-198.

สุปราณี คำมา, ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ และ พิกุล พรพิบูลย์. (2563). ประสิทธิผลของการบริการทางคลินิกที่มีพยาบาลเป็นผู้นำ สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน: การทบทวนอย่างเป็นระบบ. พยาบาลสาร, 47(1), 374-387.

เมธินีวิรัล ทัพมงคล, วราวรรณ อุดมความสุข. พิกุล พรพิบูลย์. และ จรัญ สายะสถิต. (2563). การพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติสำหรับการสื่อสารกับผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤต. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย. 7 (1), 25-40. (TCI 2: 0.6).

เมธินีวิรัล ทัพมงคล, วราาวรรณ อุดมความสุข. พิกุล พรพิบูลย์. และ จรัญ สายะสถิตย์. (2563). การพัฒนาและการใช้แนวปฏิบัติสำหรับการสื่อสารกับผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤต.  วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย. ปีที่ 7 (ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2563), หน้า 25-40. (TCI 2: 0.6)

พิกุล พรพิบูลย์. (2562). การวิจัยดำเนินการ : สมรรถนะของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย. ปีที่ 6 (ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2562), หน้า 5-15. (TCI 2: 0.6)

Biplab, H., Klunklin, A., Phornphibul, P., & Soivong, P. (2020). Symptom experiences and symptom management among persons with lung cancer in Bangladesh. Bangladesh Journal of Medical Science, 19(3), 386-393.doi.org/10.3329/bjms.v19i3.45853

Pinyaphong, J., Srithanaviboonchai, K., Musumari, P.M., Tangmunkongvorakul, A., Chariyalertsak, S., Phornphibul, P. (2020). Effects of peer-education intervention on condom used in high-risk heterosexual male university students in Northern Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health, 51(2), 183-195.

Pinyaphong, J., Srithanaviboonchai, K., Musumari, P., Tangmunkongvorakul, A., Chariyalertsak, S., & Phornphibul, P. (2018). Predictors of condom use among heterosexual male university students in northern thailand using a psychological factors model.  Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health. Vol.49 No.3, pp. 489-501. (SCOPUS Q1)

Pinyaphong, J., Srithanaviboonchai, K., Chariyalertsak, S., Phornphibul, P., Tangmunkongvorakul, A., & Musumari, P. (2018). Inconsistent Condom Use Among Male University Students in Northern Thailand. Asia-Pacific Journal of Public Health. Vol.30 Issue 2, March 2018,pp. 147-157. (SCOPUS Q2)