อาจารย์ ดร.จรูญรัตน์ รอดเนียม
อาจารย์ประจำ
สาขาการพยาบาลชุมชน
อาจารย์ ดร.จรูญรัตน์ รอดเนียม
อาจารย์ประจำ
สาขาการพยาบาลชุมชน
– พ.ศ. 2545 – 2550 Ph.D in Health Promotion and Education, University of Utah, Salt Lake City, U.S.A
– พ.ศ. 2553 – 2543 พย.ม (การพยาบาลอนามัยชุมชน) มหาวิทยาลัยมหิดล
– พ.ศ. 2535 – 2539 ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ (เทียบเท่าปริญญาตรี) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา
– พ.ศ. 2565 (1 พ.ย.) – ปัจจุบัน อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
– พ.ศ. 2559 (ก.ย.) – 2565 (ต.ค.) อาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง
– พ.ศ. 2560 – 2564 อาจารย์ประจำหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง
– พ.ศ. 2557 (ก.ค.) – 2559 (ส.ค.) อาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่
– พ.ศ. 2539 – 2557 (มิ.ย.) อาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา
การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในอำเภอเมือง จังหวัดตรัง (ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข).
กิตติพร เนาว์สุวรรณ ปฐมามาศ โชติบัณ จรูญรัตน์ รอดเนียม และธารินี นนทพุทธ. (2554). นวัตกรรมหุ่นช่วยฝึกใส่สายให้อาหารทางสายยาง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม. หน้า 55-64
กิตติพร เนาว์สุวรรณ, ทิพสุคนธ์ กิจรุ่งโรจน์, ปฐมามาศ โชติบัณ, จรูญรัตน์ รอดเนียมรารัตน์ บัวงาม, สุกันยา นัครามนตรี. (2556). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินโดยการมีส่วนร่วมของภาคีสุขภาพชุมชน. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม. หน้า 44-54.
ปฐมามาศ โชติบัณ กิตติพร เนาว์สุวรรณ ธารินี นนทพุทธ และจรูญรัตน์ รอดเนียม(2556). นวัตกรรมชุดหุ่นฝึกทักษะการปฏิบัติการพยาบาล.วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม. หน้า 1-12.
จรูญรัตน์ รอดเนียมสกุนตลา แซ่เตียว และวรวรรณ จันทวีเมือง. (2556). การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค และการรับรู้ความสามารถของตนเองกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และภาวะสุขภาพของนักศึกษา.วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม. หน้า 88-97.
ญนัท วอลเตอร์โรชินี อุปรา และประกายแก้ว ธนสุวรรณ. (2559). การพัฒนารูปแบบการให้ความรู้โรค หลอดเลือดสมองสำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนท้องถิ่นภาคเหนือ.วารสารเครือข่ายวิทยาลัย พยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม. หน้า 100-116.
ญนัท วอลเตอร์, อาภรณ์ ภู่พัทธยากร และปฐมามาศ โชติบัณ. (2561). โรคติดเชื้อไวรัสซิกากับการ ตั้งครรภ์: บทบาทพยาบาลอนามัยชุมชนในการป้องกันโรค.วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและ การสาธารณสุขภาคใต้.ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม. หน้า 312-321.
ญนัท วอลเตอร์และวรารัตน์ทิพย์รัตน์. (2562). สมรรถนะและการปฏิบัติบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวาของพยาบาลวิชาชีพในการให้บริการระดับปฐมภูมิ พื้นที่ภาคใต้.วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม. หน้า 41-52.
วรารัตน์ ทิพย์รัตน์ โสภิต สุวรรณเวลา และญนัท วอลเตอร์. (2563). ปัจจัยทำนายความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุภาวะความดันโลหิตสูงที่มีโรคร่วม จังหวัดตรัง.วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม. หน้า 26-38.
อาภรณ์ ภู่พัทธยากรญนัท วอลเตอร์และศักดิ์สิทธิ์ สามทิศ. (2563). ความรู้ และการรับรู้ภาวะคุกคามของโรคติดเชื้อไวรัสซิกาในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์.วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม. หน้า 130-141.
วรารัตน์ ทิพย์รัตน์ ญนัท วอลเตอร์และณัฐชานนท์ สงสุข. (2563). ความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง อำเภอเมือง จังหวัดตรัง.ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม-เมษา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หน้า 128-143.
วรารัตน์ ทิพย์รัตน์ และญนัท วอลเตอร์. (2563). ผลของโปรแกรมการยืดเหยียดกล้ามเนื้อมือต่อการลดภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน จังหวัดตรัง.วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 กันยายน –ธันวาคม. หน้า 102-119.
ญนัท วอลเตอร์อรุณี ชุนหบดี ศักดิ์สิทธิ์ สามทิศ. (2564). สมรรถนะด้านการจัดการสุขภาวะชุมชนของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์. หน้า 47-61.
ปิยะนุช จิตตนูนท์ อาภรณ์ทิพย์ บัวเพ็ชร์ พิมพิศา ศักดิ์สองเมือง วิชัย อารับ สุวนิตย์ วงศ์ยงค์ศิลป์ และญนัท วอลเตอร์. (2564). ความรู้โรคหลอดเลือดสมองและพฤติกรรมป้องกันของกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง: กรณีศึกษาตำบลห้วยนาง จังหวัดตรัง.วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. ปีที่ 41 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน. หน้า 13-25.
ญนัท วอลเตอร์และ กนกพรรณ พรหมทอง. (2564). ทักษะการสื่อสารเพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลภาคใต้..วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม. หน้า 13-25.
วรารัตน์ ทิพย์รัตน์ ญนัท วอลเตอร์และพีรวิชญ์ สุวรรณเวลา. (2565). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยการมส่วนร่วมของครอบครัวต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ดูแลพฤติกรรมการป้องกันการพลัดตกหกล้มและการทรงตัวของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง..วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน –ธันวาคม. หน้า 72-91.